UCP L/C
Bill of Exchange
Bill of Lading รายละเอียดเพิ่มเติม
Letter of Credit หรือที่นิยมเรียกกันย่อๆ ว่า L/C เป็นการชำระค่าสินค้าผ่านธนาคารวิธีหนึ่ง จริง ๆ แล้วการชำระเงินผู้ขายมีหลายวิธี
L/C เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เพราะเป็นวิธีเดียวที่
มีหลักประกันพอที่จะเชื่อได้ว่า ผู้ขายสินค้าจะได้รับเงินค่าสินค้าเมื่อได้ส่งมอบสินค้าลงเรือ และผู้ซื้อสินค้าจะได้รับสินค้าเมื่อจ่ายเงินค่าสินค้า
หรือผู้นำเข้า ในกรณีที่ผู้นำเข้าสั่งซื้อสินค้า วัตถุดิบ หรือเครื่องจักรจากต่างประเทศโดยเลือกใช้วิธีการชำระเงินแบบ L/C โดยผู้นำเข้า
สามารถติดต่อขอใช้บริการเปิด L/C กับธนาคารได้ ซึ่งเมื่อธนาคารเปิด L/C ไปแล้ว ธนาคารจะมีภาระผูกพันที่จะต้องชำระเงินทันที
L/C at Sight ต้องจำนะครับ "L/C at Sight" เวลาได้รับ L/C ต้องหาให้เจอนะครับคำนี้ครับ
ประเภทของ L/C (L/C Terms)
ประเภทของ L/C ที่ใช้ในการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศมี 2 ประเภท ได้แก่
L/C ที่เพิกถอนได้ REVOCABLE LETTER OF CREDIT
L/C ประเภทนี้เมื่อธนาคารของผู้ซื้อได้เปิด L/C ออกไปให้แก่ผู้ขายในต่างประเทศแล้ว ผู้ซื้อหรือธนาคารจะแจ้งยกเลิกเสียเมื่อไรก็ได้ โดยมิต้องได้
รับความยินยอมจากผู้ขายแต่ประการใด ดังนั้นในทางปฏิบัติ L/C ชนิดนี้จึงไม่นิยมนำมาใช้ในการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
L/C ที่เพิกถอนไม่ได้ IRREVOCABLE LETTER OF CREDIT
L/C ประเภทนี้เมื่อธนาคารของผู้ซื้อได้เปิด L/C ออกไปแล้ว ทั้งธนาคารและผู้ซื้อจะทำการยกเลิกไม่ได้ รวมทั้งไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง
ข้อความหรือเงื่อนไขต่างๆ ได้ L/C ประเภทนี้จึงเป็นประเภทที่ใช้งานได้จริงในการค้าระหว่างประเทศ L/C ที่มิได้ระบุว่าเป็น L/C
ที่เพิกถอนได้ในทางปฏิบัติจะถือว่าเป็น L/C ที่เพิกถอนไม่ได้
L/C อาจมีการ Confirm ว่า ตัว L/C จะมีการชำระเงินแน่นอน ซึ่งการ Add Confirm ทำโดย Bank ที่ สาม ซึ่งรับรองว่า L/C มีการชำระเงินแน่นอน
ชนืดของ L/C1. Fixed L/C คือ L/C ที่เปิดขึ้นมาแล้ว มีการกำหนดมูลค่าที่แน่นอนตายตัว ใช้ได้เพียงครั้งเดียวก็หมดอายุไม่สามารถนำไปใช้ได้อีก มักมีอายุน้อยกว่า 6 เดือน ซึ่งหากบริษัทใดได้รับ L/C
ประเภทนี้ต้องส่งสินค้าออก และเตรียมเอกสารไปขึ้นเงิน และเมื่อขึ้นเงินเรียบร้อยแล้ว L/Cนั้นก็หมดผลบังคับไม่สามารถนำไปใช้ได้อีก
2. Revolveing L/C คือ L/C หมุนเวียน ซึ่งสามารถใช้ได้หลายครั้ง จนกว่าจะหมดอายุโดยส่วนมากมักมีอายุมากกว่า 3 เดือน โดยหากบริษัทใดได้รับ L/Cประเภทนี้ ผู้ส่งออกสินค้าในล๊อตแรกแล้ว
ก็รวบรวมเอกสารไปขึ้นเงินกับธนาคาร และเมื่อขึ้นเงินแล้ว L/C ก็ยังสามารถใช้ได้อีก หากยังไม่หมดอายุโดนสามารถนำ L/C ฉบับเดิมมาทำการส่งออก และขึ้นเงินไปได้เรื่อยๆ จนกว่า L/C จะหมดอายุ
ซึ่งเหมาะสำหรับผู้นำเข้าวัตถุดิบเป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายให้ธนาคาร แต่การส่งออกแต่ละครั้งต้องไม่กินจำนวนเงินที่ระบุใน L/C หากเงื่อนไขใน
L/Cอนุญาตให้ส่งสินค้าเป็นบางส่วนได้ แต่ผู้ซื้อควรกำหนดให้ผู้ขายว่าจะส่งออกได้กี่ครั้งต่อเดือนเพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดขึ้น เนื่องจากผู้ซื้อต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
*** L/C อย่างนี้มีข้อดีก็คือรู้ Procedure แล้ว ไม่ต้อง เริ่มต้นกับ L/C ฉบับใหมครับ
3. Back to back L/C คือ L/C ที่เปิดขึ้นโดยมี L/C ฉบับแรกค้ำประกันอยู่ ซึ่ง L/C ประเภทนี้จะสังเกตได้จาก L/C เปิดมาจากประเทศหนึ่ง แต่สินค้าจะให้ส่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง เช่น หากบริษัท ก.
(ประเทศไทย) ได้รับ L/Cสั่งซื้อสินค้าจากบริษัท ข. (ประเทศสหรัฐอเมริกา) ให้ผลิตสินค้าชนิดหนึ่ง แต่เนื่องจากสินค้าดังกล่าวนั้น บริษัท ก. ไม่สามารถผลิตได้ทัน จึงต้องไปสั่งซื้อสินค้าชนิดนี้จากอีกบริษัทหนึ่งที่เป็นพันธมิตรกัน
(ประเทศจีน) จึงนำ L/C ที่ได้รับจากบริษัท ข. ไปวางค้ำประกันสำหรับการเปิด L/C ฉบับที่ 2 นี้เพื่อสั่งซื้อสินค้า โดยบริษัท ก. ก็จะเลื่อนกำหนดเงื่อนไขใน L/C ใหม่ โดยให้บริษัทพันธมิตรในประเทศจีนนั้นส่งสินค้าตรง
ไปให้บริษัท ข. ในสหรัฐอเมริกาเลย เป็นต้น
***อันนี้พวกที่ผันตัวเป็น เอเย่นต์ มักทำกันครับ เช่น Garment ในประเทศไทย รับ L/C จากสเปน แล้วเอา เอา L/C ที่ได้รับไปเปิด L/C สั่งของที่เวียตนาม,จีน,ปากีสถาน
เวลา combine ตั๋วก็ combine ตั๋วที่ประเทศไทย ณ ครับ
แต่พวก เวียตนาม,จีน,ปากีสถาน ก็จะสามารถสืบเสาะไปยิงตรงกับผู้ซื้อที่เสปน ฝรั่งไม่โง่หรอกครับ เขาก้ยังคงซื้อกับคนที่เขาเชื่อ เครดิตอยู่ดีครับ
4. Red clause L/C คือ L/C ที่มีการกำหนดเงื่อนไข ให้ผู้รับผลประโยชน์/ผู้ส่งออก สามารถขึ้นเงินบางส่วนได้ก่อนการส่งออก เนื่องจากผู้ขายบางรายมีปัญหาเรื่องเงินทุนหมุนเวียนในกระบวนการผลิต
จึงต้องอนุมัติให้ผู้ขายสามารถขึ้นเงินได้บางส่วน และจะสามารถขึ้นเงินในส่วนที่เหลือได้ก็ต่อเมื่อมีการส่งสินค้าออกจนครบถ้วนตามเงื่อนไข L/C แล้ว
***อันนี้อย่าไปคิดว่าขาดเงินทุนหมุนเวียนครับ เวลาเซ็นต์สัญญานี่ เราลงไปในสัญญา เลยครับ ว่าเมื่อเรารับ L/C เราผู้ซื้อขอเบิกเงินล่วงหน้าเลยครับสัก 30% ที่เหลือก็ Against shipment
ทำได้ไม่ผิด UCP ครับ
5. Standby L/C คือ L/C ค้ำประกันสัญญาระหว่างคู่กรณีที่ไม่ใช่สัญชาติไทย ซึ่งการใช้ L/C ลักษณะนี้จะไม่มีการส่งมอบสินค้าซึ่งเป็นการใช้งานเพื่อเป็นการค้ำประกันให้คู่สัญญาปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันไว้
โดยหากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญา ผู้เสียหายก็จะเรียกร้องจากธนาคารผู้เปิด L/C ให้ขดใช้ หรือชำระเงินตามที่ L/C ค้ำประกันไว้ได้
6. Restrict L/C คือ L/C ที่กำหนดให้ผู้ส่งออกต้องขายตั๋วให้กับธนาคารที่กำหนดเท่านั้น ซึ่งหากผู้ส่งออกไปขายตั๋วให้ธนาคารอื่นจะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพื่มเติม
**** เพราะฉนั้นเวลา เราตกลงกับลูกค้าต่างประเทศ(ผู้ซื้อ) เราต้องระบุลงไปในเอกสารสัญญาซื้อขายเลยว่า L/C ต้องเป็นแบบ Non Restrict.
ไม่เช่นนั้นเสียค่าธรรมเนียมให้ธนาคาร เสียเวลาทางเดินของเอกสารเพราะเจ้าหน้าที่ธนาคาร
ที่ทำการ nego ตั๋ว เขาต้องตรวจเอกสาร
ขอทำความเข้าใจกับบทบาทของธนาคารกับผู้รับผลประโยชน์หน่อยครับ ต้องจำครับ
Applicant - เราเรียกผู้ขอเปิด L/C กับ ธนาคารว่า Applicant
Beneficiary - คือผู้ที่รับผลประโยชน์ ที่เรียกเก็บใน L/C เป็นบุคคลที่จะได้รับการชำระเงิน
จากธนาคารที่เปิด L/C
อาจเรียกชื่อ ได้ว่า Seller, Shipper, Exporter
Issuing Bank - ธนาคารที่ได้รับการขอให้เปิด L/C จากผู้ซื้อและได้ทำการเปิด L/C
ไปยังธนาคารของผู้ขายในต่างประเทศ
Advising Bank คือธนาคารผู้แจ้ง หรือ ส่ง L/C ไปให้ผู้ขาย หรือ แจ้งให้ผู้รับประโยชน์ (ผู้ส่งออก) ทราบถึงมีการเปิด L/C
ของผู้ซื้อ Negotiating Bank คือธนาคารผู้รับซื้อตั๋ว หมายถึง ธนาคารผู้ตกลงรับซื้อตั๋วและเอกสารเพื่อการชำระเงิน
Restricted Bank หมายถึง ธนาคารสที่ผู้เปิด L/C ระบุเจาะจงให้ผู้รับประโยชน์รับเงินจากธนาคารดังกล่าวโดยเฉพาะ
โดยที่ผู้รับผลประโยชน์อาจมิได้เป็นลูกค้าของธนาคารนั้นมาก่อนก็ได้
Paying Bank/ Reimbursing Bank/ Accepting Bank หมายถึง ธนาคารที่ L/C ระบุให้เป็นผู้จ่าย
เงินตามตั๋ว หรือเป็นผู้รับรองตั๋วให้แก่ผู้รับผลประโยชน์ โดยที่ธนาคารผู้เปิด L/C จะมีหนังสือให้สิทธิ์ในการเรียกเบิกเงินคืน
( Authorization to Reimburse )แก่ธนาคารนั้นไว้ล่วงหน้า
Confirming Bank หมายถึง ธนาคารผู้เพิ่มการยืนยันว่า จะรับรองผูกพันชำระเงินตาม L/C ฉบับดังกล่าว หากธนาคาร
ผู้เปิด L/C ไม่สามารถชำระเงินตาม L/C นั้น ซึ่งผู้ขายยื่นเอกสารได้ครบถ้วน ถูกต้อง ตามข้อตกลงและเงื่อนไขที่ระบุใน L/C
อันนี้มีค่าธรรมเนียมครับ ใครจะเป็นผู้จ่ายตกลงกันให้ดีนะครับ
ข้อควรระวังในการเปิด L/C
ในการเปิด L/C ไปซื้อสินค้าจากผู้ขายในต่างประเทศ ผู้ซื้อควรปฏิบัติดังนี้
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของผู้ขายให้แน่ชัดเสียก่อน ซึ่งอาจกระทำได้โดยการไปเยี่ยมโรงงานของผู้ขายหรือให้ธนาคารเป็นผู้ตรวจสอบให้
ตรวจสอบว่าเอกสารและเงื่อนไขต่างๆ ที่ระบุไว้ในใบคำขอเปิด L/C เพียงพอต่อความต้องการหรือไม่
ศึกษาข้อกำหนดของทางราชการเกี่ยวกับสินค้าที่จะนำเข้า เช่น การควบคุมการนำเข้า หรือมีอากรพิเศษหรือไม่ เป็นต้น
อย่าลืมนะครับว่าคุณจะทำการเปิด L/C กับธนาคารได้ คุณจะต้องมีหลักทรัพย์ เช่น คุณเปิด L/C มูลค่า US$1,000.- คุณก็จะต้อง
มีหลักทรัพย์มูลค่า ไม่ต่ำกว่า US$1,000.- หรือ คุณอาจจะใช้ L/C อีกหนึ่งฉบับ ที่มีชื่อคุณเป็น ผู้รับผลประโยชน์ ( Beneficiary)
มาใช้ เป็น Backup ก็ได้ครับ อย่าลืมนะครับ ธนิด าคารจะเก็บค่าธรรมเนียมในการเปิด L/C ให้กับคุณ
สรุปสิ่งที่ต้องใช้ในการเปิด L/C กับธนาคาร
1. ใบคำขอเปิด L/C
ผมได้แนบแบบฟอร์มการขอเปิด แอลซี ของธนาคารกรุงไทย ลองดู Link ครับ
2. หลักทรัพย์ของผู้ เปิด L/C
3. เอกสารประกอบการขอเปิด L/C เช่น สัญญาขาย (Sale Contract),
คำสั่งซื้อ (Purchase Order), ใบเสนอราคา (Proforma Invoice), หรือเอกสารยืนยันคำสั่งซื้อ (Order Confirmation) แล้วแต่กรณี
4. ค่าธรรมเนียมที่คุณจะต้องเสียให้ธนาคาร
0.25% ของจํานวนเงินที่เปิดต่อหนึ่งระยะเวลา 90 วัน
เศษของ 90 วันให้ถือเป็นอีกหนึ่งระยะเวลา
ขั้นต่ำ 1,000.00 บาท
ลองดูตารางตัวอย่างค่าใช้จ่ายของ ธนาคาร กสิกร ดูนะครับ
ค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์ธุรกิจต่างประเทศ
Letter of Credit หรือที่นิยมเรียกกันย่อๆ ว่า L/C เป็นการชำระค่าสินค้าผ่านธนาคารวิธีหนึ่ง จริง ๆ แล้วการชำระเงินผู้ขายมีหลายวิธี
L/C เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เพราะเป็นวิธีเดียวที่
มีหลักประกันพอที่จะเชื่อได้ว่า ผู้ขายสินค้าจะได้รับเงินค่าสินค้าเมื่อได้ส่งมอบสินค้าลงเรือ และผู้ซื้อสินค้าจะได้รับสินค้าเมื่อจ่ายเงินค่าสินค้า
หรือผู้นำเข้า ในกรณีที่ผู้นำเข้าสั่งซื้อสินค้า วัตถุดิบ หรือเครื่องจักรจากต่างประเทศโดยเลือกใช้วิธีการชำระเงินแบบ L/C โดยผู้นำเข้า
สามารถติดต่อขอใช้บริการเปิด L/C กับธนาคารได้ ซึ่งเมื่อธนาคารเปิด L/C ไปแล้ว ธนาคารจะมีภาระผูกพันที่จะต้องชำระเงินทันที
L/C at Sight ต้องจำนะครับ "L/C at Sight" เวลาได้รับ L/C ต้องหาให้เจอนะครับคำนี้ครับ
ประเภทของ L/C (L/C Terms)
ประเภทของ L/C ที่ใช้ในการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศมี 2 ประเภท ได้แก่
L/C ที่เพิกถอนได้ REVOCABLE LETTER OF CREDIT
L/C ประเภทนี้เมื่อธนาคารของผู้ซื้อได้เปิด L/C ออกไปให้แก่ผู้ขายในต่างประเทศแล้ว ผู้ซื้อหรือธนาคารจะแจ้งยกเลิกเสียเมื่อไรก็ได้ โดยมิต้องได้
รับความยินยอมจากผู้ขายแต่ประการใด ดังนั้นในทางปฏิบัติ L/C ชนิดนี้จึงไม่นิยมนำมาใช้ในการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
L/C ที่เพิกถอนไม่ได้ IRREVOCABLE LETTER OF CREDIT
L/C ประเภทนี้เมื่อธนาคารของผู้ซื้อได้เปิด L/C ออกไปแล้ว ทั้งธนาคารและผู้ซื้อจะทำการยกเลิกไม่ได้ รวมทั้งไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง
ข้อความหรือเงื่อนไขต่างๆ ได้ L/C ประเภทนี้จึงเป็นประเภทที่ใช้งานได้จริงในการค้าระหว่างประเทศ L/C ที่มิได้ระบุว่าเป็น L/C
ที่เพิกถอนได้ในทางปฏิบัติจะถือว่าเป็น L/C ที่เพิกถอนไม่ได้
L/C อาจมีการ Confirm ว่า ตัว L/C จะมีการชำระเงินแน่นอน ซึ่งการ Add Confirm ทำโดย Bank ที่ สาม ซึ่งรับรองว่า L/C มีการชำระเงินแน่นอน
ชนืดของ L/C1. Fixed L/C คือ L/C ที่เปิดขึ้นมาแล้ว มีการกำหนดมูลค่าที่แน่นอนตายตัว ใช้ได้เพียงครั้งเดียวก็หมดอายุไม่สามารถนำไปใช้ได้อีก มักมีอายุน้อยกว่า 6 เดือน ซึ่งหากบริษัทใดได้รับ L/C
ประเภทนี้ต้องส่งสินค้าออก และเตรียมเอกสารไปขึ้นเงิน และเมื่อขึ้นเงินเรียบร้อยแล้ว L/Cนั้นก็หมดผลบังคับไม่สามารถนำไปใช้ได้อีก
2. Revolveing L/C คือ L/C หมุนเวียน ซึ่งสามารถใช้ได้หลายครั้ง จนกว่าจะหมดอายุโดยส่วนมากมักมีอายุมากกว่า 3 เดือน โดยหากบริษัทใดได้รับ L/Cประเภทนี้ ผู้ส่งออกสินค้าในล๊อตแรกแล้ว
ก็รวบรวมเอกสารไปขึ้นเงินกับธนาคาร และเมื่อขึ้นเงินแล้ว L/C ก็ยังสามารถใช้ได้อีก หากยังไม่หมดอายุโดนสามารถนำ L/C ฉบับเดิมมาทำการส่งออก และขึ้นเงินไปได้เรื่อยๆ จนกว่า L/C จะหมดอายุ
ซึ่งเหมาะสำหรับผู้นำเข้าวัตถุดิบเป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายให้ธนาคาร แต่การส่งออกแต่ละครั้งต้องไม่กินจำนวนเงินที่ระบุใน L/C หากเงื่อนไขใน
L/Cอนุญาตให้ส่งสินค้าเป็นบางส่วนได้ แต่ผู้ซื้อควรกำหนดให้ผู้ขายว่าจะส่งออกได้กี่ครั้งต่อเดือนเพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดขึ้น เนื่องจากผู้ซื้อต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
*** L/C อย่างนี้มีข้อดีก็คือรู้ Procedure แล้ว ไม่ต้อง เริ่มต้นกับ L/C ฉบับใหมครับ
3. Back to back L/C คือ L/C ที่เปิดขึ้นโดยมี L/C ฉบับแรกค้ำประกันอยู่ ซึ่ง L/C ประเภทนี้จะสังเกตได้จาก L/C เปิดมาจากประเทศหนึ่ง แต่สินค้าจะให้ส่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง เช่น หากบริษัท ก.
(ประเทศไทย) ได้รับ L/Cสั่งซื้อสินค้าจากบริษัท ข. (ประเทศสหรัฐอเมริกา) ให้ผลิตสินค้าชนิดหนึ่ง แต่เนื่องจากสินค้าดังกล่าวนั้น บริษัท ก. ไม่สามารถผลิตได้ทัน จึงต้องไปสั่งซื้อสินค้าชนิดนี้จากอีกบริษัทหนึ่งที่เป็นพันธมิตรกัน
(ประเทศจีน) จึงนำ L/C ที่ได้รับจากบริษัท ข. ไปวางค้ำประกันสำหรับการเปิด L/C ฉบับที่ 2 นี้เพื่อสั่งซื้อสินค้า โดยบริษัท ก. ก็จะเลื่อนกำหนดเงื่อนไขใน L/C ใหม่ โดยให้บริษัทพันธมิตรในประเทศจีนนั้นส่งสินค้าตรง
ไปให้บริษัท ข. ในสหรัฐอเมริกาเลย เป็นต้น
***อันนี้พวกที่ผันตัวเป็น เอเย่นต์ มักทำกันครับ เช่น Garment ในประเทศไทย รับ L/C จากสเปน แล้วเอา เอา L/C ที่ได้รับไปเปิด L/C สั่งของที่เวียตนาม,จีน,ปากีสถาน
เวลา combine ตั๋วก็ combine ตั๋วที่ประเทศไทย ณ ครับ
แต่พวก เวียตนาม,จีน,ปากีสถาน ก็จะสามารถสืบเสาะไปยิงตรงกับผู้ซื้อที่เสปน ฝรั่งไม่โง่หรอกครับ เขาก้ยังคงซื้อกับคนที่เขาเชื่อ เครดิตอยู่ดีครับ
4. Red clause L/C คือ L/C ที่มีการกำหนดเงื่อนไข ให้ผู้รับผลประโยชน์/ผู้ส่งออก สามารถขึ้นเงินบางส่วนได้ก่อนการส่งออก เนื่องจากผู้ขายบางรายมีปัญหาเรื่องเงินทุนหมุนเวียนในกระบวนการผลิต
จึงต้องอนุมัติให้ผู้ขายสามารถขึ้นเงินได้บางส่วน และจะสามารถขึ้นเงินในส่วนที่เหลือได้ก็ต่อเมื่อมีการส่งสินค้าออกจนครบถ้วนตามเงื่อนไข L/C แล้ว
***อันนี้อย่าไปคิดว่าขาดเงินทุนหมุนเวียนครับ เวลาเซ็นต์สัญญานี่ เราลงไปในสัญญา เลยครับ ว่าเมื่อเรารับ L/C เราผู้ซื้อขอเบิกเงินล่วงหน้าเลยครับสัก 30% ที่เหลือก็ Against shipment
ทำได้ไม่ผิด UCP ครับ
5. Standby L/C คือ L/C ค้ำประกันสัญญาระหว่างคู่กรณีที่ไม่ใช่สัญชาติไทย ซึ่งการใช้ L/C ลักษณะนี้จะไม่มีการส่งมอบสินค้าซึ่งเป็นการใช้งานเพื่อเป็นการค้ำประกันให้คู่สัญญาปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันไว้
โดยหากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญา ผู้เสียหายก็จะเรียกร้องจากธนาคารผู้เปิด L/C ให้ขดใช้ หรือชำระเงินตามที่ L/C ค้ำประกันไว้ได้
6. Restrict L/C คือ L/C ที่กำหนดให้ผู้ส่งออกต้องขายตั๋วให้กับธนาคารที่กำหนดเท่านั้น ซึ่งหากผู้ส่งออกไปขายตั๋วให้ธนาคารอื่นจะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพื่มเติม
**** เพราะฉนั้นเวลา เราตกลงกับลูกค้าต่างประเทศ(ผู้ซื้อ) เราต้องระบุลงไปในเอกสารสัญญาซื้อขายเลยว่า L/C ต้องเป็นแบบ Non Restrict.
ไม่เช่นนั้นเสียค่าธรรมเนียมให้ธนาคาร เสียเวลาทางเดินของเอกสารเพราะเจ้าหน้าที่ธนาคาร
ที่ทำการ nego ตั๋ว เขาต้องตรวจเอกสาร
ขอทำความเข้าใจกับบทบาทของธนาคารกับผู้รับผลประโยชน์หน่อยครับ ต้องจำครับ
Applicant - เราเรียกผู้ขอเปิด L/C กับ ธนาคารว่า Applicant
Beneficiary - คือผู้ที่รับผลประโยชน์ ที่เรียกเก็บใน L/C เป็นบุคคลที่จะได้รับการชำระเงิน
จากธนาคารที่เปิด L/C
อาจเรียกชื่อ ได้ว่า Seller, Shipper, Exporter
Issuing Bank - ธนาคารที่ได้รับการขอให้เปิด L/C จากผู้ซื้อและได้ทำการเปิด L/C
ไปยังธนาคารของผู้ขายในต่างประเทศ
Advising Bank คือธนาคารผู้แจ้ง หรือ ส่ง L/C ไปให้ผู้ขาย หรือ แจ้งให้ผู้รับประโยชน์ (ผู้ส่งออก) ทราบถึงมีการเปิด L/C
ของผู้ซื้อ Negotiating Bank คือธนาคารผู้รับซื้อตั๋ว หมายถึง ธนาคารผู้ตกลงรับซื้อตั๋วและเอกสารเพื่อการชำระเงิน
Restricted Bank หมายถึง ธนาคารสที่ผู้เปิด L/C ระบุเจาะจงให้ผู้รับประโยชน์รับเงินจากธนาคารดังกล่าวโดยเฉพาะ
โดยที่ผู้รับผลประโยชน์อาจมิได้เป็นลูกค้าของธนาคารนั้นมาก่อนก็ได้
Paying Bank/ Reimbursing Bank/ Accepting Bank หมายถึง ธนาคารที่ L/C ระบุให้เป็นผู้จ่าย
เงินตามตั๋ว หรือเป็นผู้รับรองตั๋วให้แก่ผู้รับผลประโยชน์ โดยที่ธนาคารผู้เปิด L/C จะมีหนังสือให้สิทธิ์ในการเรียกเบิกเงินคืน
( Authorization to Reimburse )แก่ธนาคารนั้นไว้ล่วงหน้า
Confirming Bank หมายถึง ธนาคารผู้เพิ่มการยืนยันว่า จะรับรองผูกพันชำระเงินตาม L/C ฉบับดังกล่าว หากธนาคาร
ผู้เปิด L/C ไม่สามารถชำระเงินตาม L/C นั้น ซึ่งผู้ขายยื่นเอกสารได้ครบถ้วน ถูกต้อง ตามข้อตกลงและเงื่อนไขที่ระบุใน L/C
อันนี้มีค่าธรรมเนียมครับ ใครจะเป็นผู้จ่ายตกลงกันให้ดีนะครับ
ข้อควรระวังในการเปิด L/C
ในการเปิด L/C ไปซื้อสินค้าจากผู้ขายในต่างประเทศ ผู้ซื้อควรปฏิบัติดังนี้
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของผู้ขายให้แน่ชัดเสียก่อน ซึ่งอาจกระทำได้โดยการไปเยี่ยมโรงงานของผู้ขายหรือให้ธนาคารเป็นผู้ตรวจสอบให้
ตรวจสอบว่าเอกสารและเงื่อนไขต่างๆ ที่ระบุไว้ในใบคำขอเปิด L/C เพียงพอต่อความต้องการหรือไม่
ศึกษาข้อกำหนดของทางราชการเกี่ยวกับสินค้าที่จะนำเข้า เช่น การควบคุมการนำเข้า หรือมีอากรพิเศษหรือไม่ เป็นต้น
อย่าลืมนะครับว่าคุณจะทำการเปิด L/C กับธนาคารได้ คุณจะต้องมีหลักทรัพย์ เช่น คุณเปิด L/C มูลค่า US$1,000.- คุณก็จะต้อง
มีหลักทรัพย์มูลค่า ไม่ต่ำกว่า US$1,000.- หรือ คุณอาจจะใช้ L/C อีกหนึ่งฉบับ ที่มีชื่อคุณเป็น ผู้รับผลประโยชน์ ( Beneficiary)
มาใช้ เป็น Backup ก็ได้ครับ อย่าลืมนะครับ ธนิด าคารจะเก็บค่าธรรมเนียมในการเปิด L/C ให้กับคุณ
สรุปสิ่งที่ต้องใช้ในการเปิด L/C กับธนาคาร
1. ใบคำขอเปิด L/C
ผมได้แนบแบบฟอร์มการขอเปิด แอลซี ของธนาคารกรุงไทย ลองดู Link ครับ
2. หลักทรัพย์ของผู้ เปิด L/C
3. เอกสารประกอบการขอเปิด L/C เช่น สัญญาขาย (Sale Contract),
คำสั่งซื้อ (Purchase Order), ใบเสนอราคา (Proforma Invoice), หรือเอกสารยืนยันคำสั่งซื้อ (Order Confirmation) แล้วแต่กรณี
4. ค่าธรรมเนียมที่คุณจะต้องเสียให้ธนาคาร
0.25% ของจํานวนเงินที่เปิดต่อหนึ่งระยะเวลา 90 วัน
เศษของ 90 วันให้ถือเป็นอีกหนึ่งระยะเวลา
ขั้นต่ำ 1,000.00 บาท
ลองดูตารางตัวอย่างค่าใช้จ่ายของ ธนาคาร กสิกร ดูนะครับ
ค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์ธุรกิจต่างประเทศ
ประเภทบริการ
|
ค่าธรรมเนียม
|
ผลิตภัณฑ์ด้านการนำเข้า(IMPORT) | |
ผลิตภัณฑ์เลตเตอร์ออฟเครดิตด้านการนำเข้า (IMPORT LETTER OF CREDIT) | |
ค่าธรรมเนียมในการเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต | 0.25% ของจํานวนเงินที่เปิดต่อหนึ่งระยะเวลา 90 วัน เศษของ 90 วันให้ถือเป็นอีกหนึ่งระยะเวลา ขั้นต่ำ 1,000.00 บาท |
ค่าธรรมเนียมในการแก้ไขเลตเตอร์ออฟเครดิต | |
ในกรณีที่เพิ่มจํานวนเงิน และ/หรือต่ออายุ | 0.25% ของจํานวนเงินที่เพิ่ม และ/หรือระยะเวลาที่ต่ออายุ ต่อหนึ่งระยะเวลา 90 วัน เศษของ 90 วัน ให้ถือเป็นอีกหนึ่งระยะเวลา ขั้นต่ำ 1,000.00 บาท |
ในกรณีอื่น ๆ | 500.00 บาท |
กรณีเอกสารที่ธนาคารได้รับจากธนาคารที่รับเรียก เก็บเงินแจ้งข้อผิดพลาดของเอกสาร (DISCREPANCY) |
|
จํานวนเงินเกินกว่ายอดที่เปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต (L/C OVERDRAWN) |
0.25% ของจํานวนเงินที่เกินกว่ายอดที่เปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต ต่ำกว่า 500.00 บาท ไม่เก็บค่าธรรมเนียม (WAIVE) ตั้งแต่ 500.00 บาทขึ้นไป เรียกเก็บตามจริง ขั้นต่ำ 1,000.00 บาท |
เลตเตอร์ออฟเครดิตหมดอายุ (L/C EXPIRE) | 0.125% ของจำนวนเงินตามหน้าตั๋ว ขั้นต่ำ 1,000.00 บาท |
จํานวนเงินเกินกว่ายอดที่เปิดเลตเตอร์ออฟเครดิตและเลตเตอร์ออฟเครดิตหมดอายุ (L/C OVERDRAWN & L/C EXPIRE) | 0.125% ของจำนวนเงินตามหน้าตั๋ว ขั้นต่ำ 1,000.00 บาท |
ข้อผิดพลาดของเอกสารกรณีอื่น ๆ (DISCREPANCY FEE) | คิด USD 50.00 ต่อฉบับ |
ค่าธรรมเนียมในการรับรองการชําระเงินสําหรับตั๋วเงินที่มีระยะเวลา ตามเลตเตอร์ออฟเครดิต (ENGAGEMENT FEE) |
2.5% ต่อปีของจํานวนเงินตามหน้าตั๋ว เรียกเก็บเมื่อลูกค้าขอรับเอกสาร ขั้นต่ำ 1,000.00 บาท |
ค่าธรรมเนียมสําหรับเอกสารที่ไม่มีการชําระเงิน (DISHONOURED BILLS FEE) |
คิด USD 100.00 ต่อฉบับ |
ค่าติดติอสื่อสาร (COMMUNICATION CHARGE) | |
ค่า TELEX / SWIFT ในการเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิต | http://bangkokmotorparts.com |
We are authorized Financial consulting firm that work directly with
ตอบลบA rated banks eg Lloyds Bank,Barclays Bank,hsbc bank etc
We provide BG, SBLC, LC, LOAN and lots more for client all over the world.
Equally,we are ready to work with Brokers and financial
consultants/consulting firms in their respective countries.
We are equally ready to pay commission to those Brokers and financial
consultants/consulting firms.
Awaiting a favourable response from you.
Best regards
WALSH SMITH, ROBERT
email : info.iqfinanceplc@gmail.com
skype: cpt_young1
We are authorized Financial consulting firm that work directly with
ตอบลบA rated banks eg Lloyds Bank,Barclays Bank,hsbc bank etc
We provide BG, SBLC, LC, LOAN and lots more for client all over the world.
Equally,we are ready to work with Brokers and financial
consultants/consulting firms in their respective countries.
We are equally ready to pay commission to those Brokers and financial
consultants/consulting firms.
Awaiting a favourable response from you.
Best regards
WALSH SMITH, ROBERT
email : info.iqfinanceplc@gmail.com
skype: cpt_young1
We are certified & verified Financial Instrument providers of Lease & purchase instruments. We Lease BG/SBLC @ 4+2% and purchase @ 32+2%.
ตอบลบKindly contact us for our procedures and be sure that we would surely achieve success
For further inquiry contact: BERRIDGE, Ian
Email: bizfinleasingltd@gmail.com